เทคนิคการเชื่อมรอยต่อของชิ้นงาน...
เชื่อมอย่างไรให้เนียนกริ๊บ
เชื่อว่าในการเชื่อมชิ้นงานต่างๆ
ไม่ว่าจะเป็นการต่อเติม การก่อสร้างใหม่ หรือการซ่อมแซมใดๆ ที่มีการเชื่อมไฟฟ้า
เชื่อมโลหะต่างๆ นั้น เจ้าของเองก็คงอยากจะให้ผลงานออกมาดูดี เก็บงานเรียบร้อยในเรื่องของการเชื่อม
ซึ่งจะได้ไม่เกิดปัญหาต่างๆ ตามมาภายหลัง โดยเฉพาะการเชื่อมรอยต่อของชิ้นงาน ที่เรียกได้ว่ามีความสำคัญอย่างมาก
และเป็นการบ่งบอกว่า ช่างเชื่อมนั้นมีความเป็นมืออาชีพมากแค่ไหน??
การเชื่อมรอยต่อของชิ้นงาน
ตามมาตรฐาน AWS
การเชื่อมรอยต่อของชิ้นงานเพื่อเก็บงานให้เรียบร้อยนั้น
การทำให้ชิ้นงานมีรอยต่อคือ การประสานหรือการทำการต่อชิ้นส่วนสองชิ้นเข้าด้วยกัน หรืออาจจะมากกว่านั้นซึ่งสามารถทำได้โดยการยึดด้วยสกรูหรือการเชื่อม
ไม่ว่าจะเป็นการ เชื่อมรอยต่อของชิ้นงาน ที่ใช้เป็นแบบรอยต่อชน ซึ่งเป็นการนำขอบชิ้นงานทั้งสองชิ้นมาวางให้ขอบมีการชนกัน
โดยจะมีการเว้นช่องว่างหรือไม่นั้น จะขึ้นอยู่กับความหนาของงาน ส่วนการเชื่อมรอยต่อของชิ้นงาน แบบที่มีรอยต่อเกย
ซึ่งเป็นลักษณะการต่อคือการนำชิ้นงานสองชิ้นงานมาซ้อนเกยกัน ซึ่งการการเชื่อมรอยต่อของชิ้นงานวิธีนี้มีข้อดีคือไม่ต้องเสีย
เวลาในการเตรียมงานมาก เพราะการต่อเกยที่ดีควรให้ชิ้นงานทั้งสองชิ้นงานทำการซ้อนกันแบบแนบสนิทตลอดความยาว
ชนิดของการเชื่อมรอยต่อของชิ้นงานและท่าเชื่อมที่เหมาะสม
การเชื่อมรอยต่อของชิ้นงาน จากท่าเชื่อมพื้นฐาน
ซึ่งในการเชื่อมรอยต่อของชิ้นงาน (Welding Position) จากท่าเชื่อมพื้นฐานนั้น ในงานเชื่อมไม่ว่าจะเป็นเชื่อมแก๊ส
หรือเชื่อมไฟฟ้า
ท่าเชื่อมที่สามารถทำการเชื่อมได้ง่ายและมีประสิทธิภาพมากที่สุดคือ การเชื่อมรอยต่อของชิ้นงาน
ด้วยการเชื่อมท่าราบ แต่ในการปฏิบัติงานบางอย่างอาจไม่สามารถเลือกท่าเชื่อมที่ถนัดได้
ซึ่งขึ้นอยู่กับสภาพของงานที่ทำอยู่ รวมทั้งตำแหน่งของการเชื่อมรอยต่อของชิ้นงานทั้งเชื่อมแก๊ส
และเชื่อมไฟฟ้า ซึ่งการเชื่อมรอยต่อของชิ้นงาน อย่างรอยต่อมุม ซึ่งจะมีลักษณะการต่อคล้าย
ๆ กับการเชื่อมรอยต่อตัวที แต่มีความแตก ต่างกันตรงรอยต่อมุมนั้นสามารถวางตั้งฉากกันในบริเวณของขอบชิ้นงานทั้งสอง
ซึ่งการเชื่อมต่อมุมนี้สามารถเชื่อมได้ทั้งรอย ต่อมุมภายในและรอยต่อมุมภายนอก
การเชื่อมรอยต่อของชิ้นงานแบบรอยบาก
ในการเชื่อมรอยต่อของชิ้นงาน
แนวเชื่อมจะต้องมีความแข็งแรงเท่ากับหรือมากกว่าชิ้นงานที่นำมา ซึ่งแนวเชื่อมจะต้องมีการหลอมละลายตลอดความหนาของชิ้นงาน
หากชิ้นงานไม่หนามากนักก็สามารถเชื่อมได้ทันที หากชิ้นงานมีความหนาเกินกว่า 3 มิลลิเมตรขึ้นไปจะต้องมีการบากร่องชิ้นงาน
เพื่อทำให้เกิดการซึมลึกและได้เนื้อของการเชื่อมรอยต่อของชิ้นงาน ที่มากพอที่จะทำให้เกิดความแข็งแรง
ซึ่งการออกแบบบากร่องนี้จะทำการบากร่องนั้นขึ้นอยู่กับความหนาของชิ้นงานเป็นหลัก
การเชื่อมรอยต่อของชิ้นงาน แบบรอยต่อชนเชื่อมแก๊ส
เป็นการนำชิ้นงานสองชิ้นหรือมากกว่ามาต่อเข้าด้วยกันซึ่งมีวิธีการต่อมากมายอย่างการรอยต่อชน เป็นการนำชิ้นงานมาชนกัน แต่ให้ขอบของชิ้นงานทั้งสองอยู่ในระดับเดียวกัน
ส่วนรอยต่อขอบเชื่อมแก๊ส เหมาะสำหรับงานเชื่อมโลหะที่บางๆ
และไม่นิยมเติมลวดเชื่อม การการเชื่อมรอยต่อของชิ้นงานลักษณะนี้สามารถกระทำได้ง่ายรวดเร็วและประหยัดค่าใช้จ่ายได้มาก
ไม่มีความคิดเห็น:
โพสต์ความคิดเห็น